The Breathing of Maps

 

The Japan Foundation Asia Center together with MAIIAM Contemporary Art Museum and Jim Thompson Art Center presented “The Breathing of Maps,” a series of events based on Thongchai Winichakul, a Thai historian, term of “geo-body”. The project had been held in Yamaguchi and Tokyo before coming to Chiang Mai and Bangkok as its final destination. This project examined the social transformations occurring in the layers of time that lie between maps as it explored the “living geo-bodies” shaped by the ongoing accumulation of human activity.

 

The program included lecture and lecture performance by artists and researchers from Southeast Asia and Japan based on their own unique research into the history, culture, politics, economics, folkways, and other social phenomena of their respective countries.

 

Chiang Mai

Date:January 25 – 30, 2020
Venue:MAIIAM Contemporary Art Museum
The Wandering Moon Theatre & Depsiri Gallery
Free Admission

 

Bangkok

Date:February 1, 2020
Venue:Araya Hall, Jim Thomson House
Free Admission

 

Events Schedule

The Breathing of Maps

Saturday, 25 January at MAIIAM

13.00-[Special tour] San Kamphaeng 101 : special temple, food, craft & studio tour
by Gridthiya Gaweewong
Admission: 50 people
Gridthiya Gaweewong is a Yong curator based in Bangkok and Chiang Mai.  The Yong are a Tai ethnic group who migrated from Shan state to the Lanna Kingdom in the 19th century – dispersing across the northern region and becoming famous for their woodcraft and textiles.  In this event, Gaweewong walked through the memories of her family’s origins in Kosaliam, a small village in San Kamphaeng, before they migrated to Chiang Saen in Chiang Rai after World War II.  Beginning from the Kosaliam temple, this special tour included a stop at the Huang Jai Yong Restaurant and visits to some local craft workshops and artist studios.  During this journey, Gaweewong discussed the cultural and socio-political context of San Kamphaeng in relation to Thailand, and how this district has been transformed by periods of decline and revitalization.
19.00-[Lecture performance] An Imperial Sake Cup & I
by Charnvit Kasetsiri
Directed by Ka-ge Teerawat Mulvilai, Nonthawat Numbenchaphol & Anan Krudphet
Admission: 120 people
An Imperial Sake Cup and I is a lecture performance by Dr. Charnvit Kasetsiri, a renowned historian and specialist in Southeast Asia studies.  Charnvit draws a connection between his relationship with the Japanese army in his hometown Nong Pla Duk, Ban Pong, during World War II.  In 1964, Crown Prince Akihito and his consort officially visited Thailand, and as a junior member of the Bangkok Municipality welcome team, Charnvit was given a royal sake cup which he has kept ever since.  In this lecture performance, he traces personal and micro narratives to reflect objects and memories as well his witnessing of the global social transformation from the Japanese presence in Thailand, the Vietnam War, and the 1970s student uprising in Thailand.  He juxtaposes Thailand and Japanese history and subtly unravels the comparison of these two countries.  This lecture performance is co-directed by Teerawat ‘Ka-ge’ Mulvilai (performance / stage), Nonthawat Numbenchaphol and Anan Krudphet (video, moving images), and is produced by Gridthiya Gaweewong.
 

 

Sunday, 26 January at MAIIAM
Moderated by Sing Suwannakij

14.00-[Talk] Map, Mourning and Monument
by Thanavi Chotpradit
Admission: 40 people
The modern map of Thailand is seen as a representation of the Thai kingdom’s ‘geo-body’.  By defining national territory, the geographic map aims to delineate the entire national space, which in turn contributes significantly to the nationalist imagination under the rule of the Thai monarch, as a ‘kingdom’.  This presentation discusses the role of maps, the expression of mourning, and the erection of monuments both during the Cold War and after the passing of King Bhumibol. It shows how Thai nationalist imagination moves from the idea of the nation as territorial entity to something beyond that.

 

15.00-[Talk] The 1903 World’s Native Building and Exposition
by Masashi Kohara
Admission: 35 people
From 1877, National Industrial Exhibitions were held in Japan to introduce the advanced technologies of Europe and America, as well as to promote the development of new local industries.  In 1903, against the backdrop of Japanese rule over Taiwan, the 5th National Industrial Exhibition was held in Osaka, providing an important opportunity to display the might of Japanese imperialism to people in Japan and around the world.  Using newly discovered photographs from the 1903 Exhibition, this talk provided observations into modern images of the Japanese ‘self’ and ‘other’, with a focus on the Human Pavilion created at the Exhibition’s Anthropological Hall.

 

Monday, 27 January at MAIIAM

19.00-[Lecture performance] Name Laundering
by Irwan Ahmett & Tita Salina
Admission: 40 people
As part of their ongoing 10-year series of artistic and social interventions reflecting on the geopolitical issues in the Pacific Ring of Fire, this lecture performance by Irwan Ahmett and Tita Salina re-examines the relations between Indonesia, Singapore, Malaysia and Thailand in the Straits of Malacca, one of the most important waterways in Southeast Asia.

 

Responding to state and border controls created from colonialism, nationalism and capitalism, they propose eight ways to penetrate the borders of Singapore without passing official immigration channels – inspired by historical acts of seafaring, smuggling, subversion and ‘sumpah’ (the making of sacred oaths).

 

Tuesday, 28 January
at The Wandering Moon Theatre & Depsiri Gallery

18.00-[Talk] Stranger Encounters: Between Ayutthaya and Awamori
by Yudai Kamisato
Admission: 35 people
Using his Peruvian-Japanese citizenship as a haphazard compass to engage in chance encounters and research across South America, Japan and the Ryukyu islands, theatre director Yudai Kamisato is fascinated by the collective stories of migrants in faraway lands.  In this talk, he reflected on the duty of the ‘stranger’ in excavating the deep realities of the local community, and in imagining how life could be in a place not of his or her belonging.

 

For this event, Yudai invited everyone to join in drinking awamori, a popular Okinawan alcoholic beverage distilled from long grain Thai indica rice – a practice which dates back to 15th century Ayutthaya.  In Chiang Mai, he wanted to meet people who share an interest in this cultural-alcohol exchange.

 

20:00-[Lecture performance] Shadow World
by Monthatip Suksopha
Admission: 30 people
In this unique lecture performance, Chiang Mai-based contemporary shadow puppeteer Monthatip Suksopha reflected on her personal artistic journey.  She shared fragments of images, memories and stories from across her long career – employing old and new puppets, DIY lights, and a plethora of objects stored and archived in her studio.  By opening up her home and workspace, Tip invited the audience to cross over from the physical world to a shadow world of energy and spirit.

 

Wednesday, 29 January at MAIIAM

19.00-[Lecture performance] Asia the Unmiraculous
by Ho Rui An
Admission: 45 people
Departing from the 1997 regional financial crisis, Asia the Unmiraculous investigates a transnational narrative of Asian miracle, crisis and recovery.  Having conducted extensive research in Thailand, Malaysia, South Korea and Japan, Ho Rui An tracks the emergence, transmission and circulation of Asian economic futurisms in popular culture and the mainstream media – examining the external and internal demands for control of the nation-state through the leitmotif of ‘the human hand’.

 

Thursday, 30 January at MAIIAM

19.00-[Lecture] The Critical Dictionary of Southeast Asia
by Ho Tzu Nyen
Admission: 42 people
The Critical Dictionary of Southeast Asia (CDOSEA), begins with a question: what constitutes the unity of Southeast Asia — a region never unified by language, religion or political power?  CDOSEA proceeds by proposing 26 terms — one for each letter of the English / Latin alphabet.  Each term is a concept, a motif, or a biography, and together they are threads weaving together a torn and tattered tapestry of Southeast Asia.  CDOSEA is a platform facilitating ongoing research, a matrix for generating future projects and an oracular montage machine.

 

Saturday, 1 February at Araya Hall, Jim Thompson House

19.00-[Symposium] Between Geo-Bodies and the Unforgetting
by Thongchai Winichakul, Irwan Ahmett, Tita Salina, Kumiko Idaka, Mark The
Admission: 120 people
As the concluding event in The Breathing of Maps project which has been presented in Yamaguchi and Tokyo, Japan and in Chiang Mai, this symposium featured reflections by curators Kumiko Idaka and Mark Teh, and a talk on mapping, power and the geo-body by eminent historian Thongchai Winichakul – whose groundbreaking book Siam Mapped(1994) served as a conceptual compass for the project, alongside Japanese folklorist Tsuneichi Miyamoto (1907-1981)’s The Forgotten Japanese: Encounters with Rural Life and Folklore (2010).

 

In the final part of the symposium, Thongchai, Kumiko and Mark were joined by Jakarta-based artists Irwan Ahmett and Tita Salina to discuss the issues of traumatic and inconvenient histories across Indonesia, Japan, Malaysia and Thailand, and its relationship to ‘the unforgetting’.  The unforgetting is a term coined by Thongchai in his forthcoming book – as an inability to remember or to forget.  Suspended in this liminal state, these are experiences that have to be repressed or suppressed because they do not cohere to articulating socially meaningful memories under existing regimes of truth.

 

Co-organized by

 

The Breathing of Maps

 

เจแปนฟาวนเ์ดช่นัเอเชียเซ็นเตอร์รว่มกบัพิพิธภณัฑศ์ิลปะรว่มสมยัใหม่เอี่ยม และ หอศิลป์บา้นจิม ทอมป์สนั จดังาน “The Breathing of Maps” ซ่งึเป็นชดุกิจกรรมที่จดัขึน้โดยการอา้งอิงจากหนงัสือ “กาํเนิดสยามจากแผนที่ : ประวตัศิาสตรภ์มูิกายาของชาติ” ของ คณุธงชยั วินิจจะกลู นกัประวตัศิาสตรไ์ทย โครงการนีเ้คยจดัขึน้ที่ยามากจุิและโตเกียวมาแลว้ และที่เชียงใหม่และกรุงเทพฯจะเป็นจดุหมาย ปลายทางสดุทา้ย โครงการนีจ้ะพดูถึงการเปลี่ยนแปลงทางสงัคมที่เกิดขึน้บนแผนทขี่า้มกาลเวลา ในขณะทส่ีาํรวจ” ภมูิกายาที่มีชีวิต “ที่ เกิดขึน้จากการสะสมของกิจกรรมของมนษุย์

 

โปรแกรมนี้มีการบรรยายและการแสดงการบรรยายโดยศิลปินและนกัวิจยัจากเอเชียตะวนัออกเฉียงใตแ้ละญ่ีป่นุเก่ยีวกบัการ วิจยัของพวกเขาเองในเรื่องประวตัิศาสตร์ วฒันธรรม การเมือง เศรษฐศาสตร์ เศรษฐกิจ วิถีชีวิต และปรากฏการณท์างสงัคมอื่น ๆ ของ ประเทศนนั้ ๆ

 

เชียงใหม่

วันที่:25 – 30 มกราคม 2020
สถานที่:พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยใหม่เอี่ยม
The Wandering Moon Theatre & Depsiri Gallery
เข้าชมฟรี

 

กรุงเทพ

วันที่:1 กุมภาพันธ์ 2020
สถานที่:Araya Hall, พิพิธภัณฑ์บ้านจิม ทอมป์สัน
เข้าชมฟรี

 

ตารางกิจกรรม

The Breathing of Maps

วันเสาร์ที่ 25 มกราคม, พิพิธภัณฑ์ใหม่เอี่ยม

13.00-[ทัวร์พิเศษ] สันกำแพง 101: ทัวร์พิเศษ วัด อาหาร งานฝีมือ และสตูดิโอ
โดยกฤติยา กาวีวงศ์
ผู้เข้าร่วม 50 คน
กฤติยา กาวีวงศ์ เป็นภัณฑารักษ์ชาวยองที่ประจำอยู่ในกรุงเทพฯและเชียงใหม่ ยองเป็นกลุ่มกลุ่มชาติพันธุ์ไทที่อพยพจากรัฐฉานไปยังอาณาจักรล้านนาในศตวรรษที่ 19 โดยกระจายตัวทั่วภาคเหนือก่อนกลายเป็นที่รู้จักและโด่งดังจากการสร้างสรรค์งานไม้และสิ่งทอของพวกเขา ในทัวร์พิเศษครั้งนี้ กฤติยาจะพาท่านร่วมเดินผ่านความทรงจำเกี่ยวกับต้นกำเนิดของครอบครัวเธอในกอสะเลียม หมู่บ้านเล็ก ๆ ในอำเภอสันกำแพง ก่อนที่พวกเขาจะย้ายถิ่นฐานไปยังเชียงแสน จังหวัดเชียงรายภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เริ่มต้นจากวัดกอสะเลียม ทัวร์พิเศษนี้รวมไปถึงการหยุดแวะที่ร้านอาหารเฮือนใจ๋ยองเพื่อเยี่ยมชมการทำหัตถกรรมท้องถิ่นและสตูดิโอศิลปินหลากหลายท่าน ในระหว่างการเดินทางครั้งนี้ กฤติยา ได้ถกประเด็นเกี่ยวกับบริบททางวัฒนธรรมและทางสังคมการเมืองของอำเภอสันกำแพงที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย และการที่อำเภอนี้ได้ถูกทำให้เปลี่ยนแปลงไปทั้งในช่วงเวลาของการถดถอยและการฟื้นฟู
19.00-[การแสดงสดรูปแบบบรรยาย] An Imperial Sake Cup and I
โดย ดร. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ กำกับโดย คาเงะ ธีระวัฒน์ มุลวิไล, นนทวัฒน์ นำเบญจพล และ อนันต์ กรุดเพ็ชร์
ผู้เข้าร่วม 120 คน
An Imperial Sake Cup and I เป็นการบรรยายโดย ดร. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ นักประวัติศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดร.ชาญวิทย์เชื่อมโยงระหว่างความสัมพันธ์ของเขากับกองทัพญี่ปุ่นในบ้านเกิดที่หนองปลาดุก บ้านโป่งในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ในปี 2507 สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและมเหสีได้เดินทางมาเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ และในฐานะสมาชิกรุ่นน้องของทีมงานต้อนรับของเทศบาลนครกรุงเทพฯ เขาได้รับมอบถ้วยเหล้าสาเกซึ่งเขาเก็บไว้นับแต่นั้นมา ในการบรรยายครั้งนี้เขามองย้อนกลับไปสู่เรื่องราวส่วนตัวและเรื่องเล่าที่ไม่ใช่กระแสหลักที่สะท้อนวัตถุและความทรงจำรวมถึงการเป็นประจักษ์พยานในการเปลี่ยนแปลงทางสังคมโลกต่อการมีตัวตนของญี่ปุ่นในประเทศไทย สงครามเวียดนามและการลุกฮือของนักศึกษาในประเทศไทยในปี 2513 ดร.ชาญวิทย์บอกเล่าสิ่งที่ต่างกันของประวัติศาสตร์ไทยและญี่ปุ่นผ่านการเปรียบเทียบโดยละเอียดการบรรยายครั้งนี้กำกับร่วมโดย ธีระวัฒน์ คาเงะ มุลวิไล (กำกับการแสดง/ เวที), นนทวัฒน์ นำเบญจพล, อนันต์ กรุดเพ็ชร์ (ผู้กำกับร่วม, วิดีโอและภาพเคลื่อนไหว), จารุนันท์ ‘จ๋า’ พันธชาติ (บทการแสดง) และผลิตโดย กฤติยา กาวีวงศ์
 

 

วันอาทิตย์ที่ 26 มกราคมพิพิธภัณฑ์ใหม่เอี่ยม
ดำเนินรายการโดย สิงห์ สุวรรณกิจ

14.00-[บรรยาย] แผนที่ การไว้ทุกข์ และอนุสาวรีย์
โดย ธนาวิ โชติประดิษฐ
ผู้เข้าร่วม 40 คน
แผนที่สมัยใหม่ของประเทศไทยถูกมองว่าเป็นตัวแทนของ ‘ภูมิกายาของชาติ (geo-body)’ ของราชอาณาจักรไทย โดยการกำหนดอาณาเขตของประเทศแผนที่ทางภูมิศาสตร์มีจุดมุ่งหมายเพื่อแบ่งพื้นที่ทั้งหมดของประเทศซึ่งก่อให้เกิดจินตนาการของชาตินิยมภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์ไทยในฐานะ ‘ราชอาณาจักร’ การนำเสนอนี้กล่าวถึงบทบาทของแผนที่, การแสดงออกของการไว้ทุกข์และการสร้างอนุสาวรีย์ทั้งในช่วงสงครามเย็นและหลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มันแสดงให้เห็นว่าจินตนาการของชาตินิยมของไทยเปลี่ยนจากแนวคิดของประเทศในฐานะที่เป็นอาณาเขตสู่สิ่งอื่นที่เหนือกว่า

 

15.00-[บรรยาย] The 1903 World’s Natives Building and Exposition
โดย Masashi Kohara
ผู้เข้าร่วม 35 คน
ตั้งแต่ปี 2420 เป็นต้นมางานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมแห่งชาติจัดขึ้นที่ประเทศญี่ปุ่นเพื่อแนะนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ ของยุโรปและอเมริการวมถึงส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมท้องถิ่นใหม่ ๆ ในปี 2446 บนฉากหลังของการที่ญี่ปุ่นปกครองไต้หวัน งานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมแห่งชาติครั้งที่ 5 จัดขึ้นที่โอซาก้าซึ่งเป็นโอกาสสำคัญที่จะแสดงให้เห็นถึงความยิ่งใหญ่ของลัทธิจักรวรรดินิยมของญี่ปุ่นต่อผู้คนในประเทศญี่ปุ่นและทั่วโลก โดยการใช้ภาพถ่ายที่ค้นพบใหม่จากนิทรรศการ 2446 การบรรยายครั้งนี้จะให้ข้อสังเกตความเป็นภาพสมัยใหม่ของ ‘ตนเอง’ และ ‘คนอื่น’ ของญี่ปุ่นโดยมุ่งไปที่ Human Pavilion ที่สร้างขึ้นในนิทรรศการของหอมานุษยวิทยา

 

วันจันทร์ที่ 27 มกราคม, พิพิธภัณฑ์ใหม่เอี่ยม

19.00-[การแสดงการบรรยาย] Name Laundering
โดย Irwan Ahmett & Tita Salina
ผู้เข้าร่วม 40 คน
ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของการแทรกแซงทางศิลปะและสังคมแบบต่อเนื่องเป็นเวลา 10 ปีของพวกเขาซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประเด็นทางภูมิรัฐศาสตร์ในวงแหวนแห่งไฟแปซิฟิก การบรรยายครั้งนี้โดย Irwan Ahmett และ Tita Salina ทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างอินโดนีเซีย สิงคโปร์ มาเลเซีย และ ไทยในช่องแคบมะละกา หนึ่งในทางน้ำที่สำคัญที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

 

การตอบสนองต่อการควบคุมของรัฐและชายแดนที่เกิดจากลัทธิล่าอาณานิคม ลัทธิชาตินิยม และทุนนิยม พวกเขาเสนอ 8 วิธีในการเจาะเขตแดนของสิงคโปร์โดยไม่ผ่านช่องทางตรวจคนเข้าเมืองอย่างเป็นทางการโดยได้รับแรงบันดาลใจจากประวัติศาสตร์การเดินเรือ การลักลอบค้า การโค่นล้ม และการสาบาน

 

วันอังคารที่ 28 มกราคม,
The Wandering Moon Theatre & Depsiri Gallery

18.00-[บรรยาย & งานดื่มสังสรรค์] Stranger Encounters: Between Ayutthaya and Awamori
โดย Yudai Kamisato
ผู้เข้าร่วม 35 คน
โดยการใช้สัญชาติเปรู – ญี่ปุ่นเป็นเข็มทิศนำทางเพื่อสร้างโอกาสในการค้นพบและการวิจัยทั่วอเมริกาใต้ญี่ปุ่นและหมู่เกาะริวกิว ผู้กำกับละคร ยูได คามิซาโตะ รู้สึกหลงใหลไปเรื่องราวของผู้อพยพในดินแดนที่ห่างไกล ในการบรรยายนี้เขาสะท้อนให้เห็นถึงหน้าที่ของ ‘คนแปลกหน้า’ ในการขุดความจริงที่ลึกซึ้งของชุมชนท้องถิ่นและจินตนาการว่าชีวิตจะเป็นอย่างไรหากอยู่ในสถานที่ที่ไม่ใช่ที่ของเขาหรือเธอ

 

สำหรับกิจกรรมนี้ ยูไดเชิญชวนให้ทุกคนเข้าร่วมดื่ม awamori เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ได้รับความนิยมจากโอกินาวาที่กลั่นมาจากข้าวเจ้าไทยเมล็ดยาว ซึ่งเป็นวิธีการทำที่มีอายุย้อนไปถึงสมัยอยุธยาศตวรรษที่ 15 ที่เชียงใหม่เขาต้องการพบปะผู้คนที่มีความสนใจในการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมแอลกอฮอล์นี้ การเข้าร่วมกิจกรรมนี้คุณต้องนำเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในท้องถิ่น (ที่ไม่ใช่เบียร์) เช่น สุราขาว เหล้าขาว ยาดอง และอื่นๆ

 

20:00-[การแสดงการบรรยาย] โลกแห่งเงา
โดย มณฑาทิพย์ สุขโสภา
ผู้เข้าร่วม 30 คน
ในการแสดงการบรรยายที่ไม่เหมือนใครนี้ มณฑาทิพย์ สุขโสภา ผู้เชิดหุ่นเงาร่วมสมัยจากเชียงใหม่ สะท้อนเรื่องราวการเดินทางด้านศิลปะของเธอ เธอจะแบ่งปันภาพ ความทรงจำ และเรื่องราวจากอาชีพของเธอโดยใช้หุ่นกระบอกตัวเก่าและใหม่ ไฟที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง และสิ่งของมากมายที่เก็บในสตูดิโอของเธอ ด้วยการเปิดบ้านและพื้นที่ทำงานของเธอ ทิพย์จะเชิญผู้ชมให้ข้ามจากโลกทางกายภาพไปสู่โลกแห่งเงาและวิญญาณ

 

วันพุธที่ 29 มกราคม, พิพิธภัณฑ์ใหม่เอี่ยม

19.00-[การแสดงการบรรยาย] Asia the Unmiraculous
โดย Ho Rui An
ผู้เข้าร่วม 45 คน
หลังจากวิกฤตการณ์ทางการเงินในภูมิภาคเอเชียเมื่อปี 2540 Asia the Unmiraculous ได้วิเคราะห์เรื่องการข้ามชาติปาฏิหาริย์ วิกฤต และการฟื้นตัวในเอเชีย หลังจากที่ได้ทำการวิจัยในประเทศไทย มาเลเซีย เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น Ho Rui An ได้ตามรอยการเกิดขึ้น การส่งผ่าน และการไหลเวียนของอนาคตทางเศรษฐกิจของเอเชียในวัฒนธรรมสมัยนิยมและกระแสของสื่อเจาะลึกความต้องการจากภายนอกและภายในของรัฐผ่านปรากฎซ้ำตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมาของ ‘น้ำมือมนุษย์’

 

วันพฤหัสบดีที่ 30 มกราคม, พิพิธภัณฑ์ใหม่เอี่ยม

19.00-[บรรยาย] The Critical Dictionary of Southeast Asia
โดย Ho Tzu Nyen
ผู้เข้าร่วม 42 คน
The Critical Dictionary of Southeast Asia (CDOSEA) เริ่มต้นจากคำถาม: อะไรคือเอกภาพของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภูมิภาคที่ไม่เคยรวมเป็นหนึ่งเดียวกันด้านภาษา ศาสนา หรืออ านาจทางการเมือง? CDOSEA จะนำเสนอ 26 คำศัพท์- หนึ่งคำศัพท์สำหรับแต่ละตัวอักษรภาษาอังกฤษ/ละติน แต่ละคำศัพท์เป็นแนวคิด บรรทัดฐานหรือชีวประวัติและพวกคำศัพท์เหล่านั้นรวมกันเป็นเกลียวด้ายที่ถักทอเป็นพรมที่ถูกฉีกขาดรุ่งริ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ CDOSEA เป็นแพลตฟอร์มที่ส่งเสริมอำนวยความสะดวกการวิจัยอย่างต่อเนื่องอันเป็นจุดเริ่มต้นสำหรับการสร้างโครงการในอนาคตและเครื่องมือในการสานต่อสู่โครงการต่างๆ

 

วันเสาร์ที่ 1 มกราคม, Araya Hall พิพิธภัณฑ์บ้านจิม ทอมป์สัน

19.00-[ประชุมสัมมนา] Between Geo-Bodies and the Unforgetting
โดย ธงชัย วินิจจะกูล, Irwan Ahmett, Tita Salina, Kumiko Idaka และ Mark The
ผู้เข้าร่วม 120 คน
เพื่อเป็นบทสรุปของโครงการ The Breathing of Maps ซึ่งเคยจัดมาแล้วที่ยามากุจิและโตเกียวในประเทศญี่ปุ่น และที่เชียงใหม่เป็นการประชุมสัมมนาครั้งนี้สะท้อนภาพรวมโดยภัณฑารักษ์ Kumiko Idaka และ Mark Teh และบรรยายเกี่ยวกับแผนที่ อำนาจ และภูมิกายาโดยนักประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียง ธงชัย วินิจจะกูล – ผู้เขียนหนังสือ กำเนิดสยามจากแผนที่: ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ (2537) ซึ่งเป็นเข็มทิศหลักของโครงการนี้ควบคู่ไปกับนักคติชนวิทยาชาวญี่ปุ่น Tsuneichi Miyamoto’s (2450-2524) เจ้าของผลงาน The Forgotten Japanese: Encounters with Rural Life and Folklore (2553)

 

ในบทสุดท้ายของการประชุมสัมมนาครั้งนี้ ธงชัย, Kumiko และ Mark ร่วมด้วยศิลปินจากจาการ์ตา Irwan Ahmett และ Tita Salina ร่วมมาหารือเกี่ยวกับความบอบช้ำและอึดอัดของประวัติศาสตร์ในอินโดนีเซีย ญี่ปุ่น มาเลเซีย และไทย และความสัมพันธ์ของ ‘ความไม่ลืม’ ซึ่งคำว่า ‘ความไม่ลืม’ นั้นคือคำของธงชัยในหนังสือเล่มใหม่ดังที่กล่าวว่า – ความไร้ความสามารถที่จะจำหรือลืมได้ การถูกระงับในสถานะที่จำกัดนี้เป็นประสบการณ์ที่จะต้องเก็บไว้หรือปิดบังเพราะพวกเขาไม่ได้เชื่อมโยงกับความทรงจำที่มีความหมายทางสังคมที่ชัดเจนภายใต้ระบอบการปกครองของความจริงที่มีอยู่

 

ร่วมจัดโดย