วารสารเจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ

ฉบับที่ 7 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553

สารบัญ

บทความพิเศษ

มุ่งสู่การศึกษาที่ให้ความสำคัญกับระดับความสามารถ – มาเรียน “ภาษาญี่ปุ่นที่ใช้ได้จริง” กันเถอะ – SHIMADA Kazuko 1

วิทยานิพนธ์

   
การตรวจแก้และการเรียนรู้ข้อผิดพลาด ในเรียงความของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่น ISHIBASHI Reiko 11
การศึกษาความเชื่อ(Belief)ในการเรียนภาษาญี่ปุ่นของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายชาวไทย – กรณีศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร – สุพรพันธ์ จิตรบรรเทา 21
การเรียนรู้รูป [~tekureru] [~temorau] ในการนำไปใช้ในสถานการณ์จริง – กรณีของนักศึกษาชาวไทย – เตวิช เสวตไอยาราม 31
ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับพฤติกรรมการเรียนภาษาญี่ปุ่นในโรงเรียนระดับมัธยมตอนต้นของไทย – เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากกับกลุ่มที่มีน้อย – YOSHIKAWA Keiko 41
     

รายงานผลงานสำรวจและการปฏิบัติจริง

   
คุณสมบัติที่จำเป็นสำหรับไกด์ภาษาญี่ปุ่น โดยดูจากในเขตกรุงเทพฯ – จากบทสัมภาษณ์ไกด์อาชีพผู้มีประสบการณ์ – CHIBA Masahito, Takata Tomohito 51
บทบาทของครูในฐานะ “ผู้คอยช่วยชี้นำ” ในการเรียนแบบ Peer learning – มองจาก 2 ด้านคือ ทั้งทฤษฎี และ ปฏิบัติ – KATO Nobuhiko 61
การฝึกฝนคนให้มีความรู้ด้านวิชาชีพครูสอนภาษาญี่ปุ่น – กรณีศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย – NISHINO Ai, HIRATA Mariko 71
รายงานการปฎิบัติจริงการทำเวิร์กช็อปที่เน้นการทำงานร่วมกันระหว่างอาจารย์ชาวไทยและชาวญี่ปุ่น – งานสัมมนาラチャ会ครั้งที่ 15 – MATSUO Noriaki, KATSUKI Yusuke 81
ตัวบ่งชี้ที่พบในบทสนทนาของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย MIZUNO Yoshinori 91
คำอธิบายรายละเอียดวิชา วัตถุประสงค์ และเนื้อหาของภาษาญี่ปุ่นเพื่อการท่องเที่ยว จากโครงการสอน: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยในประเทศไทยที่มีรายวิชาบังคับเลือก MORI Yasumasa 101
การออกแบบกิจกรรมโต้วาทีเพื่อการเรียนภาษาญี่ปุ่น – เป้าหมายคือการอภิปรายที่สอดคล้องกัน – OHNO Naoko, YOSHIZAWA Akiko 111
รายงานผลการสำรวจ แนวทางการพัฒนาตำราภาษาญี่ปุ่นสำหรับวิชาเลือกในโรงเรียนมัธยมศึกษา ประภา แสงทองสุข, MIURA Takashi, SHIBUYA Miki 121
ความเป็นมาของกลุ่มสัมมนาการศึกษาภาษาญี่ปุ่นในไทย – จากการรวบรวมข้อมูลในอดีตย้อนหลังไป 20 ปีจนถึงปัจจุบัน – SAITO Masao 129
การสอนเรียงความชั้นกลางและชั้นสูงโดยให้ผู้เรียนคิดร่วมกันเป็นกลุ่ม – สื่อมัลติมีเดีย – TAKEI Hiroko 139
การศึกษาเรื่องทรัพยากรการเรียนรู้ในสิ่งแวดล้อมของการเรียนรู้ในต่างประเทศ กรณีศึกษาจากพัฒนาการการฝึกฝนของการเชื่อมโยงชั้นเรียนทางไกลระหว่างประเทศไทยและญี่ปุ่น USHIKUBO Ryuta 149
บทคัดย่อ   159

แก้ไขคำผิด

คณะผู้จัดทำวารสารเจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ ขออภัยในความผิดพลาดในวารสาร เจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ ฉบับที่ 7 และขอแก้ไขคำผิดดังต่อไปนี้

    • ชื่อผู้เขียนบทความเรื่อง “รายงานการปฎิบัติจริงการทำเวิร์กช็อปที่เน้นการทำงานร่วมกันระหว่างอาจารย์ชาวไทยและชาวญี่ปุ่น――งานสัมมนาラチャ会ครั้งที่ 15――” ที่ถูกต้องคือคุณ KATSUKI Yusuke
    • ชื่อบทความในหน้าสารบัญเรื่อง「タイにおける日本語ガイドに求められるもの―ベテランガイドへのインタビューに基づいて―」แก้ไขเป็น「バンコクに拠点をおく日本語ガイドに求められるもの―ベテランガイドへのインタビューに基づいて―」

ในบทความเดียวกันในหน้าสารบัญขอเพิ่มเติมชื่อผู้เขียนบทความเป็นคุณ CHIBA Masahito และคุณTAKATA Tomohito สังกัดมหาวิทยาลัยสยาม

    • ชื่อบทความในหน้าสารบัญเรื่อง「専門職としての日本語教員養成―タイ・コンケン大学の事例研究―」แก้ไขเป็น「専門職としての日本語教員の養成―タイ・コンケン大学の事例研究―」 ในบทความเดียวกันในหน้า 72図① 「ス キ」แก้ไขเป็น「スキル」